ReadyPlanet.com
พื้นที่โฆษณา-ลิงก์ผู้สนับสนุน (ADVERTISEMENT)
*YesSpaThailand.com เราสรรหาสิ่งที่ดีที่สุดเพื่อคุณ... ศูนย์รวมองค์ความรู้เกี่ยวกับสปา อโรมาเทอราปี นวดแผนไทย โรงเรียนสปา โรงเรียนนวดแผนโบราณ สมุนไพร วิถีแห่งธรรมชาติบำบัด แพทย์ทางเลือก อายุรเวท ความงาม ผู้หญิง สุขภาพ โยคะ เครื่องดื่มสปาเพื่อสุขภาพ ศูนย์รวมผลิตภัณฑ์สปา แนะนำการลงทุนในธุรกิจสปา สปาแฟรนไชส์-เส้นทางลัดสู่การลงทุน ศูนย์รวมรายชื่อธุรกิจสปา Spa Dicectory ข่าวท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวรับสมัครงาน โปรโมชั่น ส่วนลดพิเศษ...YesSpaThailand.com *เทคนิควิธีการนวดแผนโบราณ วิธีการนวดฝ่าเท้า วิธีการนวดขา วิธีการนวดใบหน้า คอ แขนและมือ วิธีการนวดในท่านั่ง วิธีการนวดคอ วิธีการไหล่และหลัง วิธีการนวดไทยขั้นพื้นฐาน วิธีนวดหน้า วิธีการนวดไหล่ วิธีการนวดคอ วิธีการนวดขาและนวดเท้า วิธีการนวดเอวและนวดหลัง วิธีการนวดแขนและนวดมือ วิธีการนวดกดจุดฝ่าเท้าเบื้องต้น ขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณทุกท่าน เข้าชมเว็บไซต์ครบ *แนะนำโรงเรียน-สอนนวดฟรี-เรียนนวดฟรี:-เรียนนวดแผนไทยฟรี-สอนนวดกดจุดฝ่าเท้าฟรี  สูตรวิธีการทำเครื่องดื่มน้ำผักผลไม้-สูตรล้างสารพิษ สูตรลดความเครียด สูตรรักษาโรค เสริมภูมิคุ้มกัน สูตรวิธีการทำสมุนไพรสด สำหรับพอกหน้า-พอกตัว ยาแผนโบราณตำรายาสมุนไพรวัดโพธิ์ วิธีการนวดตามธาตุเจ้าเรือน ดิน น้ำ ลม ไฟ Four Element Massage สมุนไพรแห่งความงาม9,546,019 Visitors *โยคะ (Yoga) คืออะไร ประวัติโยคะ วิธีการฝึกโยคะ สูตรการฝึกโยคะ ประโยชน์ของการฝึกโยคะ คำแนะนำในการฝึกโยคะ ข้อควรระวังในการฝึกโยคะ การเตรียมตัวฝึกโยคะ (Yoga) อุปกรณ์ของการฝึกโยคะ โยคะอาสนะ (Asana) คืออะไร?  โยคะร้อน (Bikram Yoga) คืออะไร? โยคะต้านแรงโน้มถ่วง (Antigravity Yoga) คืออะไร?  เทคนิควิธีฝึกการหายใจแบบโยคะ (ปรานายามา) ลมปราณแห่งชีวิต วิธีการฝึกหายใจแบบโยคะ: การหายใจทางจมูกสลับข้าง19,032,108 PageViews *สปาคืออะไร ประเภทของสปา รูปแบบและบริการของสปา องค์ประกอบของสปาเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับสปา สปาไทย-สปาตะวันตก	 สปาหู สปามือ สปาเท้า สปาผม สปาปลาบำบัด อโรมาเทอราปี (สุคนธบำบัด) ประเภทของการนวดกับอโรมาเทอราปี  วิธีการผลิต การสกัด สรรพคุณ น้ำมันหอมระเหย เอสเซ็นเชียล ออยล์ สูตรผสมและคุณประโยชน์สถิติเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2567*วิธีการนวดแผนโบราณ ประโยชน์ของการนวดแผนโบราณ ขั้นตอนการนวดฝ่าเท้าและการกดจุดฝ่าเท้า ข้อควรระวัง ข้อห้ามและข้อควรปฏิบัติหลังการนวดแผนโบราณ ข้อแตกต่างของการนวดแบบทั่วไปกับการนวดแบบราชสำนัก ความลับของการนวดฝ่าเท้า ประโยชน์ของลูกประคบสมุนไพร การอบสมุนไพร วิธีประโยชน์ของการอยู่ไฟ คุณแม่หลังคลอดบุตร
dot dot
dot
โฆษณาผู้สนับสนุน (Advertisement)
dot
จันทร์ธาราสปา Chantrara Spa ผู้นำด้านความงามทรวงอก และสุขภาพผิวพรรณ Tel: 0-2314-5759
bulletจันทร์ธาราสปา Chantrara Spa ผู้นำด้านความงามทรวงอก และสุขภาพผิวพรรณ Tel. 023145759
dot
ค้นหาบทความที่คุณต้องการ

dot
dot
สปา-ศาสตร์แห่งความงามเพื่อสุขภาพ
dot
bulletความหมายของ-สปา-SPA
bulletประเภทของสปา-SPA
bulletองค์ประกอบของสปาเพื่อสุขภาพ
bulletรูปแบและบริการของสปา
bulletสปาไทย-สปาตะวันตก
bulletผลิตภัฑ์สมุนไพรสำหรับสปา
bulletสปาหู Ear Candeling
bulletสปามือ-สปาเท้า
bulletสปาผม
bulletสปาปลาบำบัด Spa Fish
bulletออกซิเจน โซลาร์ สปา
dot
พลังแห่งกลิ่นหอม-อโรมาเทอราปี
dot
bulletอโรมาเทอราปี - คืออะไร
bulletร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ จากกลิ่นบำบัด ในอโรมาเทอราปี
bulletประเภทของการนวดยอดนิยม
bulletอโรมาเทอราปี-กับการนวดเด็ก
bulletสูตรน้ำมันหอมระเหยในการรักษาโรคและการบำบัดเพื่อสุขภาพ
dot
อโรมาเทอราปี - เพื่อความงาม
dot
bulletการดูแลสภาพเส้นผมและผิวพรรณ
bulletสูตรถนอมและบำรุงเส้นผม
bulletสูตรเพื่อการถนอมผิวพรรณ
bulletสูตรเพื่อการถนอมผิวหน้า
bulletสูตรผสมเพื่อการอาบน้ำ
dot
dot
dot
น้ำมันหอมระเหย - อโรมาเทอราปี
dot
bulletน้ำมันหอมระเหย-คืออะไร
bulletวิธีการใช้และสรรพคุณ
bulletข้อควรระวังในการใช้
bulletประโยชน์ของน้ำมันหอมระเหย
bulletวิธีการผลิต-น้ำมันหอมระเหย
bulletน้ำมันหอมระเหยของไทย
bulletเอสเซ็นเชียล ออยล์ สูตรผสมและคุณประโยชน์
bulletน้ำมันกระสายยา-คืออะไร
bulletสูตรผสมน้ำมันหอมระเหยเพื่อความงามและสุขภาพ
bulletราศีกับการเลือกใช้น้ำมันหอมระเหย
bullet114 ชนิดของน้ำมันหอมระเหย สรรพคุณ คุณสมบัติและวิธีนำไปใช้
bulletเหตุใดน้ำมันหอมระเหยจึงมีราคาแตกต่างกัน
bulletน้ำมันหอมระเหยรักษาโรคได้จริงหรือ
bulletวิธีเลือกซื้อน้ำมันหอมระเหยให้ได้ของแท้ 100%
bulletข้อแตกต่างระหว่างน้ำมันหอมระเหยที่สกัดจากธรรมชาติ และน้ำมันหอมระเหยสังเคราะห์ (ของเทียม)
bulletข้อแตกต่างระหว่าง น้ำมันหอมระเหยออแกนิกส์ กับน้ำมันหอมระเหยบริสุทธิ์ 100%
dot
dot
dot
สปาไทย-มนต์เสน่ห์ของไทยพื้นบ้าน
dot
bulletสปาไทย วิถีวัฒนธรรมแบบไทย
bulletย้อนรอยศาสตร์การนวดแผนไทย
bulletเสน่ห์ไทยกับการนวดแผนโบราณ
bulletวิธีการนวดแผนโบราณ
bulletรูปแบบการนวดแผนโบราณ
bulletข้อแตกต่างการนวดแบบทั่วไปกับการนวดแบบราชสำนัก
bulletประโยชน์ของการนวดแผนโบราณ
bulletข้อห้ามการนวดแผนโบราณ
bulletไทยสัปปายะ นวดไทยกับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
bulletรูปแบบการนวดยอดนิยมในเอเชีย
bulletความลับของการนวดฝ่าเท้า
bulletประโยชน์ของการนวดฝ่าเท้า
bulletขั้นตอนการนวดฝ่าเท้า
bulletกฎ-ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข เกี่ยวกับการนวดแผนไทย
dot
dot
dot
วิธีการนวดแผนโบราณ ขั้นพื้นฐาน
dot
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดหน้า
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดคอ
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดไหล่
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดแขน-มือ
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดเอว-หลัง
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดขา-เท้า
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า เบื้องต้น 1
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า เบื้องต้น 2
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า เพื่อสุขภาพ 1
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า เพื่อสุขภาพ 2
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า รักษาโรค 1
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า รักษาโรค 2
dot
เทคนิควิธีการนวดแผนโบราณ
dot
bulletเทคนิควิธีการนวดเท้า
bulletเทคนิควิธีการนวดขา ตอน 1
bulletเทคนิควิธีการนวดขา ตอน 2
bulletเทคนิควิธีการนวดหน้า คอ แขน มือ
bulletเทคนิควิธีการนวดในท่านั่ง คอ ไหล่และหลัง
dot
dot
dot
องค์ความรู้ - วัดโพธิ์ (วัดพระเชตุพนฯ)
dot
bulletชีวประวัติ "ปู่ฤาษีชีวก โกมารภัจจ์" แพทย์ประจำพระองค์ของพระพุทธเจ้า บรมครูของวงการแพทย์แผนไทย
bulletประวัติความเป็นมาของวัดโพธ์
bullet"เส้นประธานสิบ" หลักสำคัญของวิชาการนวดไทย
bulletตำรายาสมุนไพร-สำหรับสตรีมีครรภ์และหลังคลอดบุตร
bulletตำรายาสมุนไพร-สำหรับตู้ยาประจำบ้าน
bulletตำรายาสมุนไพร-สำหรับรักษาโรค
dot
dot
bulletประวัติความเป็นมาของ ฤาษีดัดตน
bulletวีดีทัศน์ ฤาษีดัดตน ท่าที่ 1-5
bulletวีดีทัศน์ ฤาษีดัดตน ท่าที่ 6-10
bulletวีดีทัศน์ ฤาษีดัดตน ท่าที่ 11-15
dot
dot
dot
ธาตุเจ้าเรือน ธาตุทั้ง 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ
dot
bulletมารู้จักธาตุเจ้าเรือน ในตัวเรา
bulletการนวดฟื้นฟูธาตุเจ้าเรือน
bulletวิธีการนวดฟื้นฟูตามธาตุเจ้าเรือน
bulletธาตุเจ้าเรือนกับการใช้น้ำมันหอมระเหย
bulletวิธีเลือกคู่รักตามธาตุเจ้าเรือน
bulletอายุรเวท (Ayurrveda) คืออะไร
bulletตรีโทษ (วาตะ ปิตตะ กผะ) คืออะไร
bulletชาววาตะ (Vata) ผู้มีธาตุลมและธาตุอากาศ เป็นธาตุประจำตัว
bulletชาวปิตตะ (Pitta) ผู้มีธาตุไฟ เป็นธาตุประจำตัว
bulletชาวกผะ (Kapha) ผู้มีธาตุดินและธาตุน้ำ เป็นธาตุประจำตัว
dot
dot
dot
ลูกประคบ-สมุนไพรไทย
dot
bulletความลับของลูกประคบสมุนไพร
bulletอุปกรณ์ วิธีการทำ สมุนไพรที่สำคัญ การเก็บรักษา ลูกประคบ
bulletสมุนไพรที่ใช้เป็นส่วนผสมสำคัญของลูกประคบสมุนไพร
bulletสูตรลับ-ลูกประคบ จากชาววัง
bulletสูตรลูกประคบรักษาเฉพาะโรค 1
bulletสูตรลูกประคบรักษาเฉพาะโรค 2
bulletสูตรลูกประคบสมุนไพรไทยแบบสดและแบบแห้ง
dot
อบไอน้ำ-สมุนไพรไทย
dot
bulletการอบไอน้ำสมุนไพร เพื่อความงาม
bulletสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของการ อบไอน้ำสมุนไพร
bulletวิธีการอบ ข้อห้าม การอบสมุนไพร
bulletสูตรลับ-ยาอบสมุนไพรจากชาววัง
dot
dot
dot
อยู่ไฟ-คุณแม่หลังคลอดบุตร
dot
bulletความหมายของการ-อยู่ไฟ
bullet29 ขั้นตอนของการ-อยู่ไฟ
dot
dot
dot
สมุนไพรแห่งความงามและสุขภาพ
dot
bulletตำลึง-ครีมสมุนไพรบำรุงผิวพรรณ
bulletบัวบก-ครีมสมุนไพรบำรุงความงาม
bulletเทียนบ้าน-ครีมสมุนไพรฟื้นฟูผิว
bulletฝรั่ง-ครีมสมุนไพรแห่งความงาม
bulletสูตรลับ-น้ำมันสมุนไพร-ยาสมุนไพร
bulletสูตรลับ-แป้งฝุ่นสมุนไพร
bulletสูตรลับ-แป้งสมุนไพรระงับกลิ่นกาย
bulletสูตรลับ-ยาสมุนไพร-แห่งความงาม
bulletสูตรสมุนไพรสดพอกหน้า-พอกตัว
bulletสูตรสวยลึกล้ำจากธรรมชาติ
dot
dot
dot
มหัศจรรย์สมุนไพรกลิ่นหอมธรรมชาติ
dot
bulletพลังกลิ่นหอม สร้างพลังชีวิต
bulletพืชหอมของไทย ที่นำมาใช้ในสปา
bulletกำยาน ความหอมอมตะ
dot
dot
dot
โยคะ (Yoga) ลมปราณแห่งชีวิต
dot
bulletโยคะ (Yoga) คืออะไร? ประวัติโยคะ
bulletความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับโยคะ
bulletประโยชน์ของการฝึกโยคะ (Yoga)
bulletคำแนะนำในการฝึกโยคะ และ 10 ข้อควรระวังในการฝึกโยคะ
bulletศิลปะ ปรัชญาและ 4 เทคนิคการฝึกโยคะ (Yoga) อย่างง่ายๆ
bulletอุปกรณ์และการเตรียมตัวฝึกโยคะ เมื่อไรควรฝึกโยคะ? (Yoga)
bulletโยคะอาสนะ (Asana) คืออะไร? ประเภท เป้าหมาย และการแบ่งระดับชั้นของโยคะอาสนะ
bulletวิธีการฝึกโยคะ: ท่าสุริยะนมัสการ
bulletโยคะร้อน (Bikram Yoga) คือ...
bulletประโยชน์ของการฝึกโยคะร้อน
bulletข้อควรระวังในการฝึกโยคะร้อน
bulletโยคะต้านแรงโน้มถ่วง คืออะไร?
bulletวิธีการฝึกหายใจแบบโยคะ: การหายใจทางจมูกสลับข้าง
bulletวิธีการฝึกหายใจแบบโยคะ: การหายใจแบบผึ้ง
bulletแนะนำโรงเรียนสอนโยคะ (Yoga)
dot
dot
dot
ผลิตภัณฑ์สปา-มรดกอัศจรรย์ของไทย
dot
bulletสูตรและวิธีการทำ-ผลิตภัณฑ์สปา
dot
dot
dot
สูตรเครื่องดื่มสปา เพื่อสุขภาพ
dot
dot
dot
dot
แนะนำสปาใกล้บ้านคุณ
dot
bulletHotel & Resort SPA
bulletDay SPA
bulletMedical SPA
bulletDestination SPA
bulletHealth Massage SPA
bulletSPA Schools
dot
dot
dot
แนะนำการลงทุนในธุรกิจแฟรนไชส์
dot
bulletแนะนำ แฟรนไชส์ สปา ความงาม สุขภาพ โยคะ เส้นทางลัดสู่การลงทุน
bulletแฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร
bulletความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์
bulletมาตรฐาน คุณภาพของแฟรนไชส์
bulletมุมมองการตลาดธุรกิจแฟรนไชส์
bulletบทความ-ความรู้พื้นฐานแฟรนไชส์
bulletบทความ-คัมภัร์บริหารเชิงกลยุทธ์
dot
dot
dot
VDO องค์ความรู้ภูมิปัญญาไทย
dot
bulletวีดีโอ ความรู้เกี่ยวกับสปา นวดไทย
dot
dot
dot
สาระน่ารู้ เพื่อคุณภาพของชีวิต
dot
bulletบทความ - สปา สุขภาพ ความงาม
bulletแนะนำหนังสือ
bulletข่าวประกาศรับสมัครงานสปา
bulletข่าวโปรโมชั่น-ส่วนลดพิเศษ
bulletNEWS & EVENTS
bulletฝากข่าวประชาสัมพันธ์
bulletฝากข่าวรับสมัครงาน


พื้นที่โฆษณา-ลิงก์ผู้สนับสนุน
โรงละครไทย อลังการ พัทยา
Nantra de Boutique Hotel Pattaya: Pattaya
Lanna Come Spa
Chantrara Spa
Parutee
Chivasom Academy
Tai-Pan Hotel
Spa @ Bangkok
Panviman Spa Academy


พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหยของไทย article

พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย-กลิ่นหอมของไทย

พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย

"พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย (กลิ่นหอม) ในประเทศไทย" มีประมาณ 400 ชนิด ซึ่งบางชนิดก็เป็นพันธุ์ไม้ป่าและพันธุ์ไม้พื้นบ้าน จะแบ่งออกเป็นพวก ๆ ได้แก่ พันธุ์ไม้จำพวกเปลือกมีกลิ่น เนื้อไม้มีกลิ่น ใบมีกลิ่น ดอกมีกลิ่น เมล็ดมีกลิ่น และเหง้ามีกลิ่น

พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย จำพวก "เปลือก" มีกลิ่นหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-กำลังเสือโคร่ง Betula Alnoides 
เป็นพันธุ์ไม้เขตอบอุ่นขนาดกลาง-ใหญ่ขึ้นตามป่าดิบเขาภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก บนพื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 800-1,000 เมตร เปลือกมีกลิ่นหอมคล้ายการบูร ใช้ประกอบยารักษาโรค

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-อบเชย Cinnamomum Bejolfhota (Sweet) 
ไม้ขนาดเล็ก-กลาง พบมากในป่าดิบภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และขึ้นกระจัดกระจายอยู่ในเขตจังหวัดเลย หนองคาย อุตรดิตถ์ เปลือกมีกลิ่นอบเชย ใช้แทนกลิ่นอบเชย (Cinnamon)

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-ตะไคร้ต้น Cinnamomum Ilicoides Chev 
ไม้ขนาดกลาง-ใหญ่ พบขึ้นทั่วไปตามป่าดิบภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ เปลือกมีกลิ่นตะไคร้ นอกจากเปลือกแล้วใบและผลก็มีกลิ่นหอมตะไคร้เช่นกัน

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-เทพธาโรหรือจวงหอม Cinnamomum Porrectum (Roxb) (Kostem) 
ชื่อไม้ขนาดกลาง-ใหญ่ พบขึ้นในป่าดิบทั่วประเทศ เปลือกและเนื้อไม้มีกลิ่นหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-สุรามะริด 
ไม้ขนาดกลาง พบขึ้นในป่าดิบบนภูเขาทั่ว ๆ ไป เปลือกมีกลิ่นหอมคล้ายอบเชย

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-แกง Cinnamomum Tanala Th.vries 
ชื่อไม้ขนาดเล็ก-กลาง พบขึ้นเฉพาะในป่าดิบเขาภาคเหนือเท่านั้น เปลือกมีกลิ่นหอมรุนแรง

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-กระแจะ  Hesperethusa Crenulata (Roxb) Roem 
ไม้ขนาดเล็กลำต้นมีหนามพบขึ้นทั่วไปในป่าเบญจพรรณที่ค่อนข้างแห้งแล้ง เปลือกหอม ใช้ทำแป้งร่ำ ทำเครี่องหอมเข้ากับเครื่องยา

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-ตดหมูตดหมา Paederia Linearis Hook.f. Ppilifera Hook.f. 
ไม้เถาขึ้นตามป่าละเมาะทั่วไป เปลือกมีกลิ่นเหม็นหืน

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-กุหลิมหรือกระเทียมต้น Scorodocarpus Borneenisis Becc 
ไม้ต้นขนาดกลาง-ใหญ่ ขึ้นตามป่าดงดิบภาคใต้ เปลือกมีกลิ่นกระเทียม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-ยมหอม Toona Cliata M.Roem 
ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณและป่าดงดิบทั่ว ๆ ไป 
เปลือกมีกลิ่นหอม

พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย จำพวก "เนื้อไม้" มีกลิ่นหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-จันทน์ชะมด Aglaia Pyramidaa Hance 
ไม้ต้นขนาดกลางขึ้นตามป่าดงดิบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-สบหรือไม้หอม  Altingia Exeelsa  Noronha 
ไม้ต้นขนาดกลาง-ใหญ่ ขึ้นตามป่าดงดิบที่ค่อนข้างชุ่มชื้น ริมลำธารทางภาคเหนือ  (พิษณุโลก) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (เพชรบูรณ์) และภาคตะวันออก (นครราชสีมา นครนายก)
 เนื้อไม้มีกลิ่นหอมใช้ทำธูป หรือโรงศพ

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-พญามะขามป้อมดง Cephalotaxus Griffitkii Hook.f. 
ไม้ต้นขนาดกลาง-ใหญ่ เปลือกเรียบเป็นมัน  สีน้ำตาลอ่อนขึ้นตามป่าดิบเขาที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาร 1,000-1,800 เมตร ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ตาก ชัยภูมิและเลย
เนื้อไม้มีกลิ่นหอมคล้ายน้ำมันสน

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-จันทนา Tarenna Hoaensis Pitard 
ไม้ต้นขนาดเล็ก-กลาง ขึ้นตามป่าดงดิบแล้งทั่ว ๆ ไป โดยเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี และบางตอนทางภาคอีสาน (อุบลราชธานี) กลิ่นของแก่นไม้ชนิดนี้มักจะมีต้นที่แก่มาก ๆ ส่วนมากใช้ประกอบเครื่องยา

 •พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-ทำมัง Litsea Petiolata Hook.f. 
ไม้ขนาดกลาง-ใหญ่ ชอบขึ้นในป่าดงดิบภาคใต้ เนื้อไม้มีกลิ่นฉุนคล้ายกลิ่นแมงดานา ทางปักษ์ใต้นิยมใช้ทำครกหรือสากต้ำน้ำพริก

ส่วนพันธุ์ไม้ป่าที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ 
เนื้อไม้จะมีกลิ่นต่อเมื่อตายและผุแล้ว

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-แก้งขี้พระร่วง Celtis Timoremsis Span 
ไม้ต้นขนาดกลาง-ใหญ่ ขึ้นตามป่าดงดิบภาคเหนือ และภาคตะวันออก 
เนื้อไม้เมื่อแห้งมีกลิ่นเหม็นคล้ายอุจจาระ

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-กฤษณา Aquilaria Crassna Pierre ex H. lec 
ไม้ต้นขนาดกลาง-ใหญ่ เนื้อไม้สีขาวหรือเหลืองอ่อน มีแก่นที่เรียกว่า กฤษณา หรือเนื้อไม้อาจจะมีลูกผุดเป็นส่วนเล็กในบางตอนของลำต้น บางต้นก็ไม่มีเลย แก่นหรือลูกผุดนี้มีกลิ่นหอมจัดเมื่อลนใฟ สันนิษฐานกันว่าเกิดจากการกระทำของเชื้อรา หรือเชื้อโรคบางอย่าง แก่นแท้ ๆ ที่มีประจำลำต้นและมีสีคล้ำกว่ากระพี้ธรรมดาของลำต้น ก็มีกลิ่นเช่นกัน กฤษณา พบขึ้นในป่าดงดิบทั่วไปทางภาคตะวันออก 
กฤษณามีชื่อทางการค้าเรียกว่า Eagle-Wood

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-จันทน์หอม mansonia Gagei Drummond 
ไม้ต้นขนาดกลางขึ้นตามป่าดงดิบทั่วประเทศเว้นภาคเหนือ มีมากที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประจวบคีรีขันธ์ และนครราชมีมา ชอบขึ้นบนเขาหินปูน  มื่อต้นไม้ล้มตายโดยธรรมชาติเป็นเวลานานปี จนภายนอกผุเปื่อยแล้วแก่นไม้จะมีกลิ่นหอมจัดใช้ทำธูป ดอกไม้จันทน์ เครื่องยา เครื่องหอมต่าง ๆ ไม้จันทน์หอมของไทยเป็นคนละชนิดกับไม้หอมของอินเดียที่เรียกว่า Sandalwood  ซึ่งมีกลิ่นหอมจัดแม้แต่ยังสด ๆ

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-จันทน์แดง Dracaena Loureiri Gagnep 
ไม้พุ่มชอบขึ้นบนเขาหินปูนทั่วไปมีมากในจังหวัดกาญจนบุรี  ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ นครราชสีมา และอุบลราชธานี กลิ่นของไม้ชนิดนี้มีน้อย และมักจะมีแต่ต้นที่แก่มาก ๆ หรือต้นที่ล้มตายผุพัง

......................................................................................
โฆษณา-ลิงก์ผู้สนับสนุน

......................................................................................

พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย จำพวก "ใบ" มีกลิ่นหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-เพี้ยฟานหรือหัสคุณ Clausena Excavata Burm.f
ไม้ขนาดเล้ก พบทั่วๆไปในป่าเบญจพรรณ ใบมีกลิ่นหอม ใช้ปรุงอาหาร

•เครืองูเห่า Zanthoxylum Collinsae Craib 
ไม้เถา มีหนามพบทั่ว ๆ ไปทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ใบมีกลิ่นหอม ใช้ปรุงอาหาร

พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย จำพวก "ดอก" มีกลิ่นหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-กระทุ่มน้ำ Anthocephalus Chipensis (LamK) Rich. Ex Walp. 
ไม้ขนาดกลาง-ใหญ่พบขึ้นตามที่ชุ่มชื้นชายป่าดิบ ริมลำธารทั่ว ๆ ไป 
ดอกสีขาวหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-กะเบาน้ำ Hybnocarpus Anthelminthicus Pierre 
ไม้ขนาดกลางขึ้นป่าดงดิบใกล้ ๆ น้ำทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคกลาง และพบมากในป่าดิบชื้น และป่าพรุภาคใต้ 
ดอกสีขาวกลิ่นหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-กันเกรา Fagraea Frugrans Roxb 
ไม้ขนาดกลาง-ใหญ่ พบทั่ว ๆ ไปในป่าเบญจพรรณชื้น หรือบนพื้นที่ชื้น ๆ ใกล้น้ำทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคกลาง และพบมากในป่าดิบชื้น และป่าพรุภาคใต้  ดอกสีขาวกลิ่นหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-แก้ว Murraya paniculata (Linn) jack 
ไม้ขนาดเล้ก ขึ้นตามป่าดงดิบและเขาหินปูนทั่ว ๆ ไป ดอกเล้ก สีขาวหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-คัดเค้า Randia Oppositifolia Koord
ไม้เถาไม่มีหนาม พบตามป่าดิบทางภาคใต้ ดอกสีขาวหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-คัดเค้าทอง Randia Oppositifolia Koord  
ไม้เถาไม่มีหนาม พบตามป่าดิบทั่ว ๆ ไปในประเทศ 
ดอกสีเหลืองหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-จำปา Michelia Champaca  Linn 
ไม้ขนาดกลาง-ใหญ่ ขึ้นตามป่าดิบชั้นที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 200-1,000 เมตร ดอกสีเหลืองหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-จำปีหลวง Michelia Rajaniana Craib 
ไม้ขนาดกลาง-ใหญ่ ชอบขึ้นตามป่าดิบเขาที่ระดับประมาณ 1,000-1,300 เมตร ในจังหวัดเชียงใหม่ แพร่ 
ดอกสีเหลืองอ่อนกลิ่นหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-จันทน์กะพ้อ Vatica  Diospyroides Syming 
ไม้ขนาดกลางพบตามป่าดิบ ภาคใต้ ดอกสีนวลหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-จำปูน Anaxagorea Javanica BI 
ไม้พุ่ม-ไม้ขนาดเล้ก พบมากตามป่าดิบชื้นภาคใต้ ดอกสีขาวหอมจัด

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-เถาวัลย์เปรียง Derris Scandens Benth 
ไม้เถา พบทั่ว ๆ ไป
ช่อดอกสีขาวกลิ่นหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-บุนนาค Mesua Ferrea Linn 
ไม้ขนาดกลาง-ใหญ่ พบขึ้นตามป่าดิบทั่ว ๆ ไป ดอกสีขาวหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-บุก Amor Phophallus Spp 
พืชล้มลุก พบทั่ว ๆ ไปตามป่าดิบและป่าเบญจพรรณชื้น เวลาออกดอก ไม่มีใบ
ดอกมีกลิ่นเหม็น

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-พยอม Shorea Roxburghii G. Don 
ไม้ขนาดกลาง-ใหญ่ พบตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบทั่ว ๆ ดอกสีขาวหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-พุด Cardenia Collinsac Craib 
ไม้ขนาดเล็ก พบตามป่าดิบแล้งและเขาหินปูนทั่วไป ดอกสีขาวหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-สารภี 
ไม้ขนาดกลาง-ใหญ่ ขึ้นในป่าชื้นทั่ว ๆ ไป ดอกสีขาวหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-สายหยุด Desmos Chinensis Lour 
ไม้เถา พบขึ้นตามป่าดิบทั่ว ๆ ไป ดอกสีหลืองหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-อรคน, รสสุคนธ์ 
ไม้เถา ขึ้นตามป่าทุ่ง ทั่ว ๆ ไป
ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-อูนป่า Viburmum Inopinatum Craib 
ไม้พุ้ม ขึ้นตามป่าดิบเขาทั่ว ๆ ไป ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-อุตพิษ Typhonium Trilobatum Schott 
พืชล้มลุก พบขึ้นทั่ว ๆ ไป ตามที่ชื้น ๆ 
ดอกมีกลิ่นเหม็น

พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย จำพวก "เมล้ด" มีกลิ่นหอม

พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-จันทร์ม่วง Myristica Elliptica Wall 
ไม้ขนาดกลาง-ใหญ่ ชอบขึ้นริมลำธารในป่าดิบภาคใต้ เมล็ดมีกลิ่นหอมคล้ายลูกจันทน์ ดอกจันทน์

พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-นูด Alyxia Nitens Kerr และ ชะลูด  A Reinwardtii Bl 
ไม้เถา มียางขาว พบทั่วไปทางภาคใต้ ดอกหอมเมล็ดหอม

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-มะแหลบ Peucedanum Dhana Ham Var Dolzellii C.B. Clarke  
พืชล้มลุก บนเขาหินปูนภาคเหนือ เมล็ดมีกลิ่นหอม ใช้ปรุงอาหาร

พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-มะข่วงหรือลูกระมาด Zanthoxylum Rhetsa ( Roxv.) CD 
ไม้ขนาดเล็กกลางมีหนาม ขึ้นตามป่าดงดิบ เมล็ดมีกลิ่นหอม ใช้ปรุงอาหาร

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-เร่วหรือกระวานป่า Amomum Xanthioides Wall 
พืชล้มลุกมีเหง้า พบมากในป่าดิบทั่วประเทส โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออกเฉียงใต้ เมล็ดมีกลิ่นหอม มีชื่อทางการค้าว่า Bastard Cardampm

•พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย-กระวานขาว Amomum Krervanh Pierre 
พืชล้มลุกมีเหง้าพบขึ้นตามป่าดิบ อ.โป่งน้ำร้อน จ.จันทบุรี เมล็ดมีกลิ่นหอม ใช้เข้าเครื่องยา  และใช้ปรุงแต่งรสอาหารมีชื่อทางการค้าว่า Cardamom  ซึ่งใช้แทนกระวานแท้ (Elettaria Cardamomum Matton) ของอินเดียได้

พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย จำพวก "เหง้า" มีกลิ่นหอมได้แก่ พืชล้มลุกของวงศ์ ขิง ข่า เป็นส่วนใหญ่ เช่น ไพล (Zingiber Cassumunar Roxb)  เหง้าใช้ทำยาและประกอบอาหารสำเร็จรูป กระชายใช้ประกอบอาหารและทำยารักษาโรค ขมิ้นใช้ประกอบอาหารและทำยารักษาโรค นอกจากนี้ยังมีพืชล้มลุกสกุล Zingiber อื่น ๆ อีกเช่น ไพลดำ ไพลม่วง จะเงาะ และกะทือป่า เป็นต้น

♦เรียบเรียงบทความ "พันธุ์ไม้กลิ่นหอมของไทย"
โดยกองบรรณาธิการ
www.YesSpaThailand.com

 

พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย-กลิ่นหอมของไทย
พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย-กลิ่นหอมของไทย
พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย-กลิ่นหอมของไทย
พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย-กลิ่นหอมของไทยพันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย-กลิ่นหอมของไทย
พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย-กลิ่นหอมของไทย
พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย-กลิ่นหอมของไทย
พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย-กลิ่นหอมของไทย
พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย-กลิ่นหอมของไทย
พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย-กลิ่นหอมของไทย
พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย-กลิ่นหอมของไทย
พันธุ์ไม้สร้างและสะสมน้ำมันหอมระเหย-กลิ่นหอมของไทย

 


 

 

Custom Search

 

 




มหัศจรรย์สมุนไพรกลิ่นหอมธรรมชาติ <ดูทั้งหมด>

พลังแห่งกลิ่นหอม "กำยาน" ความหอมอมตะ article
ขมิ้นชัน พืชสมุนไพรไทยและน้ำมันหอมระเหยที่มีศักยภาพของไทย article
พลังแห่งกลิ่นหอม สร้างพลังชีวิต article
มะลิ พืชสมุนไพรไทยและน้ำมันหอมระเหยที่มีศักยภาพของไทย article
กฤษณา ไม้เศรษฐกิจและน้ำมันหอมระเหยที่มีศักยภาพของไทย article
ตะไคร์หอม พืชสมุนไพรไทยและน้ำมันหอมระเหยที่มีศักยภาพของไทย article



Copyright © www.YesSpaThailand.com 2010 All Rights Reserved.

พื้นที่โฆษณา -ลิงก์ผู้สนับสนุน (Advertisement)

มูลนิธิส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชน