ReadyPlanet.com
พื้นที่โฆษณา-ลิงก์ผู้สนับสนุน (ADVERTISEMENT)
*YesSpaThailand.com เราสรรหาสิ่งที่ดีที่สุดเพื่อคุณ... ศูนย์รวมองค์ความรู้เกี่ยวกับสปา อโรมาเทอราปี นวดแผนไทย โรงเรียนสปา โรงเรียนนวดแผนโบราณ สมุนไพร วิถีแห่งธรรมชาติบำบัด แพทย์ทางเลือก อายุรเวท ความงาม ผู้หญิง สุขภาพ โยคะ เครื่องดื่มสปาเพื่อสุขภาพ ศูนย์รวมผลิตภัณฑ์สปา แนะนำการลงทุนในธุรกิจสปา สปาแฟรนไชส์-เส้นทางลัดสู่การลงทุน ศูนย์รวมรายชื่อธุรกิจสปา Spa Dicectory ข่าวท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวรับสมัครงาน โปรโมชั่น ส่วนลดพิเศษ...YesSpaThailand.com *เทคนิควิธีการนวดแผนโบราณ วิธีการนวดฝ่าเท้า วิธีการนวดขา วิธีการนวดใบหน้า คอ แขนและมือ วิธีการนวดในท่านั่ง วิธีการนวดคอ วิธีการไหล่และหลัง วิธีการนวดไทยขั้นพื้นฐาน วิธีนวดหน้า วิธีการนวดไหล่ วิธีการนวดคอ วิธีการนวดขาและนวดเท้า วิธีการนวดเอวและนวดหลัง วิธีการนวดแขนและนวดมือ วิธีการนวดกดจุดฝ่าเท้าเบื้องต้น ขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณทุกท่าน เข้าชมเว็บไซต์ครบ *แนะนำโรงเรียน-สอนนวดฟรี-เรียนนวดฟรี:-เรียนนวดแผนไทยฟรี-สอนนวดกดจุดฝ่าเท้าฟรี  สูตรวิธีการทำเครื่องดื่มน้ำผักผลไม้-สูตรล้างสารพิษ สูตรลดความเครียด สูตรรักษาโรค เสริมภูมิคุ้มกัน สูตรวิธีการทำสมุนไพรสด สำหรับพอกหน้า-พอกตัว ยาแผนโบราณตำรายาสมุนไพรวัดโพธิ์ วิธีการนวดตามธาตุเจ้าเรือน ดิน น้ำ ลม ไฟ Four Element Massage สมุนไพรแห่งความงาม9,546,019 Visitors *โยคะ (Yoga) คืออะไร ประวัติโยคะ วิธีการฝึกโยคะ สูตรการฝึกโยคะ ประโยชน์ของการฝึกโยคะ คำแนะนำในการฝึกโยคะ ข้อควรระวังในการฝึกโยคะ การเตรียมตัวฝึกโยคะ (Yoga) อุปกรณ์ของการฝึกโยคะ โยคะอาสนะ (Asana) คืออะไร?  โยคะร้อน (Bikram Yoga) คืออะไร? โยคะต้านแรงโน้มถ่วง (Antigravity Yoga) คืออะไร?  เทคนิควิธีฝึกการหายใจแบบโยคะ (ปรานายามา) ลมปราณแห่งชีวิต วิธีการฝึกหายใจแบบโยคะ: การหายใจทางจมูกสลับข้าง19,032,108 PageViews *สปาคืออะไร ประเภทของสปา รูปแบบและบริการของสปา องค์ประกอบของสปาเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับสปา สปาไทย-สปาตะวันตก	 สปาหู สปามือ สปาเท้า สปาผม สปาปลาบำบัด อโรมาเทอราปี (สุคนธบำบัด) ประเภทของการนวดกับอโรมาเทอราปี  วิธีการผลิต การสกัด สรรพคุณ น้ำมันหอมระเหย เอสเซ็นเชียล ออยล์ สูตรผสมและคุณประโยชน์สถิติเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2567*วิธีการนวดแผนโบราณ ประโยชน์ของการนวดแผนโบราณ ขั้นตอนการนวดฝ่าเท้าและการกดจุดฝ่าเท้า ข้อควรระวัง ข้อห้ามและข้อควรปฏิบัติหลังการนวดแผนโบราณ ข้อแตกต่างของการนวดแบบทั่วไปกับการนวดแบบราชสำนัก ความลับของการนวดฝ่าเท้า ประโยชน์ของลูกประคบสมุนไพร การอบสมุนไพร วิธีประโยชน์ของการอยู่ไฟ คุณแม่หลังคลอดบุตร
dot dot
dot
โฆษณาผู้สนับสนุน (Advertisement)
dot
จันทร์ธาราสปา Chantrara Spa ผู้นำด้านความงามทรวงอก และสุขภาพผิวพรรณ Tel: 0-2314-5759
bulletจันทร์ธาราสปา Chantrara Spa ผู้นำด้านความงามทรวงอก และสุขภาพผิวพรรณ Tel. 023145759
dot
ค้นหาบทความที่คุณต้องการ

dot
dot
สปา-ศาสตร์แห่งความงามเพื่อสุขภาพ
dot
bulletความหมายของ-สปา-SPA
bulletประเภทของสปา-SPA
bulletองค์ประกอบของสปาเพื่อสุขภาพ
bulletรูปแบและบริการของสปา
bulletสปาไทย-สปาตะวันตก
bulletผลิตภัฑ์สมุนไพรสำหรับสปา
bulletสปาหู Ear Candeling
bulletสปามือ-สปาเท้า
bulletสปาผม
bulletสปาปลาบำบัด Spa Fish
bulletออกซิเจน โซลาร์ สปา
dot
พลังแห่งกลิ่นหอม-อโรมาเทอราปี
dot
bulletอโรมาเทอราปี - คืออะไร
bulletร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ จากกลิ่นบำบัด ในอโรมาเทอราปี
bulletประเภทของการนวดยอดนิยม
bulletอโรมาเทอราปี-กับการนวดเด็ก
bulletสูตรน้ำมันหอมระเหยในการรักษาโรคและการบำบัดเพื่อสุขภาพ
dot
อโรมาเทอราปี - เพื่อความงาม
dot
bulletการดูแลสภาพเส้นผมและผิวพรรณ
bulletสูตรถนอมและบำรุงเส้นผม
bulletสูตรเพื่อการถนอมผิวพรรณ
bulletสูตรเพื่อการถนอมผิวหน้า
bulletสูตรผสมเพื่อการอาบน้ำ
dot
dot
dot
น้ำมันหอมระเหย - อโรมาเทอราปี
dot
bulletน้ำมันหอมระเหย-คืออะไร
bulletวิธีการใช้และสรรพคุณ
bulletข้อควรระวังในการใช้
bulletประโยชน์ของน้ำมันหอมระเหย
bulletวิธีการผลิต-น้ำมันหอมระเหย
bulletน้ำมันหอมระเหยของไทย
bulletเอสเซ็นเชียล ออยล์ สูตรผสมและคุณประโยชน์
bulletน้ำมันกระสายยา-คืออะไร
bulletสูตรผสมน้ำมันหอมระเหยเพื่อความงามและสุขภาพ
bulletราศีกับการเลือกใช้น้ำมันหอมระเหย
bullet114 ชนิดของน้ำมันหอมระเหย สรรพคุณ คุณสมบัติและวิธีนำไปใช้
bulletเหตุใดน้ำมันหอมระเหยจึงมีราคาแตกต่างกัน
bulletน้ำมันหอมระเหยรักษาโรคได้จริงหรือ
bulletวิธีเลือกซื้อน้ำมันหอมระเหยให้ได้ของแท้ 100%
bulletข้อแตกต่างระหว่างน้ำมันหอมระเหยที่สกัดจากธรรมชาติ และน้ำมันหอมระเหยสังเคราะห์ (ของเทียม)
bulletข้อแตกต่างระหว่าง น้ำมันหอมระเหยออแกนิกส์ กับน้ำมันหอมระเหยบริสุทธิ์ 100%
dot
dot
dot
สปาไทย-มนต์เสน่ห์ของไทยพื้นบ้าน
dot
bulletสปาไทย วิถีวัฒนธรรมแบบไทย
bulletย้อนรอยศาสตร์การนวดแผนไทย
bulletเสน่ห์ไทยกับการนวดแผนโบราณ
bulletวิธีการนวดแผนโบราณ
bulletรูปแบบการนวดแผนโบราณ
bulletข้อแตกต่างการนวดแบบทั่วไปกับการนวดแบบราชสำนัก
bulletประโยชน์ของการนวดแผนโบราณ
bulletข้อห้ามการนวดแผนโบราณ
bulletไทยสัปปายะ นวดไทยกับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
bulletรูปแบบการนวดยอดนิยมในเอเชีย
bulletความลับของการนวดฝ่าเท้า
bulletประโยชน์ของการนวดฝ่าเท้า
bulletขั้นตอนการนวดฝ่าเท้า
bulletกฎ-ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข เกี่ยวกับการนวดแผนไทย
dot
dot
dot
วิธีการนวดแผนโบราณ ขั้นพื้นฐาน
dot
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดหน้า
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดคอ
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดไหล่
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดแขน-มือ
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดเอว-หลัง
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดขา-เท้า
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า เบื้องต้น 1
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า เบื้องต้น 2
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า เพื่อสุขภาพ 1
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า เพื่อสุขภาพ 2
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า รักษาโรค 1
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า รักษาโรค 2
dot
เทคนิควิธีการนวดแผนโบราณ
dot
bulletเทคนิควิธีการนวดเท้า
bulletเทคนิควิธีการนวดขา ตอน 1
bulletเทคนิควิธีการนวดขา ตอน 2
bulletเทคนิควิธีการนวดหน้า คอ แขน มือ
bulletเทคนิควิธีการนวดในท่านั่ง คอ ไหล่และหลัง
dot
dot
dot
องค์ความรู้ - วัดโพธิ์ (วัดพระเชตุพนฯ)
dot
bulletชีวประวัติ "ปู่ฤาษีชีวก โกมารภัจจ์" แพทย์ประจำพระองค์ของพระพุทธเจ้า บรมครูของวงการแพทย์แผนไทย
bulletประวัติความเป็นมาของวัดโพธ์
bullet"เส้นประธานสิบ" หลักสำคัญของวิชาการนวดไทย
bulletตำรายาสมุนไพร-สำหรับสตรีมีครรภ์และหลังคลอดบุตร
bulletตำรายาสมุนไพร-สำหรับตู้ยาประจำบ้าน
bulletตำรายาสมุนไพร-สำหรับรักษาโรค
dot
dot
bulletประวัติความเป็นมาของ ฤาษีดัดตน
bulletวีดีทัศน์ ฤาษีดัดตน ท่าที่ 1-5
bulletวีดีทัศน์ ฤาษีดัดตน ท่าที่ 6-10
bulletวีดีทัศน์ ฤาษีดัดตน ท่าที่ 11-15
dot
dot
dot
ธาตุเจ้าเรือน ธาตุทั้ง 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ
dot
bulletมารู้จักธาตุเจ้าเรือน ในตัวเรา
bulletการนวดฟื้นฟูธาตุเจ้าเรือน
bulletวิธีการนวดฟื้นฟูตามธาตุเจ้าเรือน
bulletธาตุเจ้าเรือนกับการใช้น้ำมันหอมระเหย
bulletวิธีเลือกคู่รักตามธาตุเจ้าเรือน
bulletอายุรเวท (Ayurrveda) คืออะไร
bulletตรีโทษ (วาตะ ปิตตะ กผะ) คืออะไร
bulletชาววาตะ (Vata) ผู้มีธาตุลมและธาตุอากาศ เป็นธาตุประจำตัว
bulletชาวปิตตะ (Pitta) ผู้มีธาตุไฟ เป็นธาตุประจำตัว
bulletชาวกผะ (Kapha) ผู้มีธาตุดินและธาตุน้ำ เป็นธาตุประจำตัว
dot
dot
dot
ลูกประคบ-สมุนไพรไทย
dot
bulletความลับของลูกประคบสมุนไพร
bulletอุปกรณ์ วิธีการทำ สมุนไพรที่สำคัญ การเก็บรักษา ลูกประคบ
bulletสมุนไพรที่ใช้เป็นส่วนผสมสำคัญของลูกประคบสมุนไพร
bulletสูตรลับ-ลูกประคบ จากชาววัง
bulletสูตรลูกประคบรักษาเฉพาะโรค 1
bulletสูตรลูกประคบรักษาเฉพาะโรค 2
bulletสูตรลูกประคบสมุนไพรไทยแบบสดและแบบแห้ง
dot
อบไอน้ำ-สมุนไพรไทย
dot
bulletการอบไอน้ำสมุนไพร เพื่อความงาม
bulletสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของการ อบไอน้ำสมุนไพร
bulletวิธีการอบ ข้อห้าม การอบสมุนไพร
bulletสูตรลับ-ยาอบสมุนไพรจากชาววัง
dot
dot
dot
อยู่ไฟ-คุณแม่หลังคลอดบุตร
dot
bulletความหมายของการ-อยู่ไฟ
bullet29 ขั้นตอนของการ-อยู่ไฟ
dot
dot
dot
สมุนไพรแห่งความงามและสุขภาพ
dot
bulletตำลึง-ครีมสมุนไพรบำรุงผิวพรรณ
bulletบัวบก-ครีมสมุนไพรบำรุงความงาม
bulletเทียนบ้าน-ครีมสมุนไพรฟื้นฟูผิว
bulletฝรั่ง-ครีมสมุนไพรแห่งความงาม
bulletสูตรลับ-น้ำมันสมุนไพร-ยาสมุนไพร
bulletสูตรลับ-แป้งฝุ่นสมุนไพร
bulletสูตรลับ-แป้งสมุนไพรระงับกลิ่นกาย
bulletสูตรลับ-ยาสมุนไพร-แห่งความงาม
bulletสูตรสมุนไพรสดพอกหน้า-พอกตัว
bulletสูตรสวยลึกล้ำจากธรรมชาติ
dot
dot
dot
มหัศจรรย์สมุนไพรกลิ่นหอมธรรมชาติ
dot
bulletพลังกลิ่นหอม สร้างพลังชีวิต
bulletพืชหอมของไทย ที่นำมาใช้ในสปา
bulletกำยาน ความหอมอมตะ
dot
dot
dot
โยคะ (Yoga) ลมปราณแห่งชีวิต
dot
bulletโยคะ (Yoga) คืออะไร? ประวัติโยคะ
bulletความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับโยคะ
bulletประโยชน์ของการฝึกโยคะ (Yoga)
bulletคำแนะนำในการฝึกโยคะ และ 10 ข้อควรระวังในการฝึกโยคะ
bulletศิลปะ ปรัชญาและ 4 เทคนิคการฝึกโยคะ (Yoga) อย่างง่ายๆ
bulletอุปกรณ์และการเตรียมตัวฝึกโยคะ เมื่อไรควรฝึกโยคะ? (Yoga)
bulletโยคะอาสนะ (Asana) คืออะไร? ประเภท เป้าหมาย และการแบ่งระดับชั้นของโยคะอาสนะ
bulletวิธีการฝึกโยคะ: ท่าสุริยะนมัสการ
bulletโยคะร้อน (Bikram Yoga) คือ...
bulletประโยชน์ของการฝึกโยคะร้อน
bulletข้อควรระวังในการฝึกโยคะร้อน
bulletโยคะต้านแรงโน้มถ่วง คืออะไร?
bulletวิธีการฝึกหายใจแบบโยคะ: การหายใจทางจมูกสลับข้าง
bulletวิธีการฝึกหายใจแบบโยคะ: การหายใจแบบผึ้ง
bulletแนะนำโรงเรียนสอนโยคะ (Yoga)
dot
dot
dot
ผลิตภัณฑ์สปา-มรดกอัศจรรย์ของไทย
dot
bulletสูตรและวิธีการทำ-ผลิตภัณฑ์สปา
dot
dot
dot
สูตรเครื่องดื่มสปา เพื่อสุขภาพ
dot
dot
dot
dot
แนะนำสปาใกล้บ้านคุณ
dot
bulletHotel & Resort SPA
bulletDay SPA
bulletMedical SPA
bulletDestination SPA
bulletHealth Massage SPA
bulletSPA Schools
dot
dot
dot
แนะนำการลงทุนในธุรกิจแฟรนไชส์
dot
bulletแนะนำ แฟรนไชส์ สปา ความงาม สุขภาพ โยคะ เส้นทางลัดสู่การลงทุน
bulletแฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร
bulletความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์
bulletมาตรฐาน คุณภาพของแฟรนไชส์
bulletมุมมองการตลาดธุรกิจแฟรนไชส์
bulletบทความ-ความรู้พื้นฐานแฟรนไชส์
bulletบทความ-คัมภัร์บริหารเชิงกลยุทธ์
dot
dot
dot
VDO องค์ความรู้ภูมิปัญญาไทย
dot
bulletวีดีโอ ความรู้เกี่ยวกับสปา นวดไทย
dot
dot
dot
สาระน่ารู้ เพื่อคุณภาพของชีวิต
dot
bulletบทความ - สปา สุขภาพ ความงาม
bulletแนะนำหนังสือ
bulletข่าวประกาศรับสมัครงานสปา
bulletข่าวโปรโมชั่น-ส่วนลดพิเศษ
bulletNEWS & EVENTS
bulletฝากข่าวประชาสัมพันธ์
bulletฝากข่าวรับสมัครงาน


พื้นที่โฆษณา-ลิงก์ผู้สนับสนุน
โรงละครไทย อลังการ พัทยา
Nantra de Boutique Hotel Pattaya: Pattaya
Lanna Come Spa
Chantrara Spa
Parutee
Chivasom Academy
Tai-Pan Hotel
Spa @ Bangkok
Panviman Spa Academy


แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์แฟรนไชส์ที่ควรรู้ article

แฟรนไชส์ (Franchise)
คืออะไร?
ศัพท์แฟรนไชส์ที่ควรรู้

แฟรนไชส์ (Franchise) เป็นชื่อเรียกการทำธุรกิจโดยมีการให้สิทธิและส่วนการครอบครองการบริหารจัดการและการจัดจำหน่ายทั้งหมดในมือของผู้ที่ได้รับกรรมสิทธิ์โดยชอบธรรม โดยเริ่มมาจากบริษัท ทำรางรถไฟ และบริษัทสาธารณูปโภค ที่พยายามขยายการเติบโตของบริษัทให้มากที่สุด โดยการออกขายสิทธิ์ที่ได้รับสัมปทาน รวมทั้งขายชื่อของกิจการ รวมทั้งระบบการทำงานของตัวเองให้ผู้อื่นโดยทำให้มีแบบแผนในการจัดการไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งในการขยายตลาดและช่องทางการจัดจำหน่ายของธุรกิจผ่านผู้ประกอบการอิสระโดยบริษัทจะให้สิทธิเครื่องหมายการค้าและวิธีการในการทำธุรกิจที่จะถ่ายทอดให้ในรูปแบบของการทำงานทั้งหมด เช่น ระบบการผลิต ระบบการขาย ระบบการบริหารการตลาด เพื่อที่จะให้รูปแบบวิธีดำเนินธุรกิจในทุกๆสาขาให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกันตามต้นแบบของบริษัท

.........................................................................................................
โฆษณา-ลิงก์ผู้สนับสนุน

.........................................................................................................

ประวัติของแฟรนไชส์ (Franchise)
การพัฒนาของระบบ'แฟรนไชส์'นั้นเริ่มจากบริษัทซิงเกอร์ ในปี ค.ศ.1850 โดยซิงเกอร์เป็นผู้วางระบบการค้าปลีกแก่ร้านลูกข่ายโดยมีการอบรมและการมอบรูปแบบการพัฒนาการจัดการร้านในแบบของบริษัทถือเป็นต้นแบบเสมือนเป็นแฟรนไชซอร์ ซิงเกอร์นั้นใช้วิธีสร้างเครือข่ายการขายปลีกด้วยระบบพนักงาน และการเป็นตัวแทนจำหน่าย โดยมีค่าใช้จ่ายเพียงค่าสิทธิ์ในการเป็นผู้จัดจำหน่าย ในระดับภูมิภาค แม้ว่าการจัดการในระบบของซิงเกอร์จะไม่สมบูรณ์แต่ก็เป็นจุดเริ่มต้นของการเริ่มทำธุรกิจในระบบนี้เลยที่เดียว

แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย

จุดเปลี่ยนของแฟรนไชส์ (Franchise)
จนถึงต้นศตวรรษที่ 19 เกิดการขาดแคลนช่องทางจัดจำหน่ายสินค้า โดยบริษัทไม่มีเงินทุนมากพอ ที่จะซื้อทรัพย์สิน สร้างโรงงาน หรือลงทุนเปิดร้านค้าจำนวนมาก เพื่อเป็นแหล่งจำหน่ายสินค้า หรือลงทุนจ้างผู้จัดการเสมียน และพนักงานทำให้เกิดค่าใช้จ่ายที่สุรุ่ยสุร่ายเกินไป ดังนั้น แทนที่จะส่งสินค้าไปสต๊อกก็เปลี่ยนเป็นเก็บสินค้าไว้ที่ตัวแล้วรอการมารับไปจำหน่ายต่อแทนเป็นการลดความเสี่ยงในด้านการผลิตไปในตัวอีกด้วยโดยมีการเรียกวิธีนี้ว่าว่า "Product Franchise" ที่ให้สิทธิ์การผลิต และตราสินค้าเพียงรายเดียว ในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ แต่ก็เริ่มเสื่อมถอยลงในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2

การพัฒนาของแฟรนไชส์ (Franchise)
หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ไม่นานร้านค้าปลีกที่ยังดำเนินกิจการอยู่ได้ทำการยกระดับธุรกิจจากการพัฒนาตัวสินค้า เปลี่ยนมาเป็นงานบริการแทน โดยการให้บริการแบบขับรถเข้าไปซื้อ เนื่องจากมีคนจำนวนมากที่มาอยู่ในบริเวณ ชานเมืองมักจะมีรถและต้องการความรวดเร็วในการซื้อสินค้าไปทานข้างนอก โดยรูปแบบนี้มีร้านตัวแทนเป็นจำนวนมากกระจายลงสู่พื้นที่ โดย แบรนด์สินค้าแรกคือ A&W และเทสตี้ ฟรีซ (Tastee Freeze) ที่กลายเป็นที่นิยมกันข้ามประเทศ ซึ่งเป็นจุดต่อของรูปแบบแฟรนไชส์อย่างเต็มรูปแบบ Format Franchising ในยุค ค.ศ.1950 เชื่อมมาสู่อีกยุคหนึ่งโดย แมคโดนัลด์, เบอร์เกอร์คิงส์, ดังกิ้นโดนัท, เคเอฟซี และฟาสท์ฟู้ด เกิดแฟรนไชส์ระดับชาติในช่วงเวลา ดังกล่าว

โดยหนึ่งในร้านค้านั้น แมคโดนัลด์ โดยเรย์ คร็อก ได้รับฉายาว่า ราชาแห่งแฮมเบอร์เกอร์ และเป็นแฟรนไชส์ซอร์ที่ไม่ธรรมดาเลย เนื่องมาจากคร็อกคือผู้ประยุกต์ระบบแฟรนไชส์ให้สามารถพัฒนามาใช้งานได้ดีเยี่ยมมากที่สุดและสามารถนำมาใช้ได้ทุกรูปแบบ เขาเปรียบเสมือนนักปฏิวัติ ผู้ยิ่งใหญ่ของอเมริกาโดยก่อนหน้านี้ก็คือ เฮนรี่ ฟอร์ด ผู้ที่ประยุกต์การผลิตรถยนต์ อันเป็นสาเหตุเดียวกันที่บุคคลทั้ง 2 กลายเป็นผู้ที่ถูกกล่าวขานถึงความสำเร็จ ที่มีอิทธิพลสูงสุดต่อโครงสร้าง เศรษฐกิจของอเมริกา

แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย

ความนิยมของแฟรนไชส์ (Franchise)
หลังจากการประสบความสำเร็จในการใช้รูปแบบธุรกิจแฟรนไชส์ แมคโดนัลด์ ได้เข้าไประดมทุนในตลาดหุ้นครั้งแรก ซึ่งราคาหุ้นของแมคโดนัลด์นั้นสามารถขึ้นได้สูงสุดเป็น 2 เท่าตัวในทุกเดือนและเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในไม่ช้า หุ้นแฟรนไชส์ของโรงแรมฮอลิเดย์อินน์, เคเอฟซี และแฟรนไชส์อื่นๆ เข้ามาขายในตลาดหลักทรัพย์อีก โดยการนำร่องโดย กลุ่มฟาสท์ฟู้ด และได้ฝังรากลึกลงไปในวิถีชีวิตของคนอเมริกัน แต่ก็มีแฟรนไชส์ใหม่ที่ประสบความสำเร็จ ในหมวดของธุรกิจบริการด้านสุขภาพ อาหารใหม่ๆ เช่น พิซซ่าฮัท และอาหารเม็กซิกัน จนในปลายทศวรรษที่ 1980 ธุรกิจแฟรนไชส์ได้รับความนิยมในกลุ่มที่แตกต่างไปจากเดิมโดยมีหลากหลายการให้บริการ เช่น ศูนย์เปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องcastal, ตัวแทนจัดหางานJob, บริการที่เกี่ยวกับรถยนต์, รถเช่า, อาหารนานาชาติ ส่วนแฟรนไชส์ที่ขายบริการ เช่น งานพิมพ์, จัดจ้างพนักงานชั่วคราว รวมไปถึงร้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งงานให้บริการเหล่านี้ ได้รับความนิยมมากในเมือง และชานเมือง และเริ่มขยายตัวอย่างสูงเข้าสู่มหานครใหญ่ๆทั่วโลก

ระบบแฟรนไชส์ (Franchise) ในเมืองไทย
ธุรกิจแฟรนไชส์ในประเทศไทยที่มีการริเริ่มมากกว่า 20 ปี เริ่มตั้งแต่ปีพ.ศ. 2526 ธุรกิจแรกๆ ที่พยายามผลักดันการขยายงานโดยใช้รูปแบบแฟรนไชส์ เป็นธุรกิจด้านอาหารและร้านค้าแบบมินิมาร์ท แต่ส่วนใหญ่จะมีปัญหาในเรื่องความเข้าใจที่ถูกต้องของสิทธิ ที่มักให้แฟรนไชส์เป็นผู้ลงทุน ที่เน้นทำธุรกิจแบบซื้อเพื่อการลงทุน ไม่มีการมองถึงการสร้างธุรกิจของตนเอง บางครั้งยังใช้การบริหารแบบเก่าที่เน้นความเป็นระบบครอบครัวทำให้อัตราความล้มเหลวธุรกิจแฟรนไชส์ของไทยในภาพรวมเพิ่มขึ้น บางครั้งการลงทุนของแฟรนไชส์ซีที่ประสบปัญหาเกิดจากการจัดการของตนเองบ้าง หรือก็เกิดจากระบบงานของบริษัทแม่ที่เน้นการขยายธุรกิจที่มุ่งผลทางการตลาด

รูปแบบและปัจจัยของแฟรนไชส์ (Franchise)
ธุรกิจแฟรนไชส์จะต้องประกอบด้วยปัจจัยหลัก 3 ประการคือ

  1. มีผู้ซื้อและผู้ขายแฟรนไชส์ เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ฝ่าย ก็คือแฟรนไชส์ซอร์ และแฟรนไชส์ซี ซึ่งมีการตกลงร่วมในการทำธุรกิจร่วมกันทั้งมีสัญญาและไม่มีสัญญา แต่ในอนาคตรูปแบบข้อตกลงจะปรับรูปสู่ระบบการสร้างสัญญาทั้งหมด เพื่อให้ทั้งระบบแฟรนไชส์ในตลาดจะต้องถูกระบบ เพราะไม่เช่นนั้นแฟรนไชส์ซีที่ไม่ดีจะทำลายระบบด้วย
  2. เครื่องหมายการค้าหรือบริการ มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีรูปแบบ ระบบธุรกิจ และใช้เครื่องหมายการค้าเดียวกัน ระบบการจัดการธุรกิจอาจจะเป็นเครื่องมือ หรือสูตรที่คิดค้นขึ้นมาเอง ในการผลิตสินค้า หรือบริการ โดยมีมาตรฐานที่อยู่ในตราสินค้า Brand เดียวกัน
  3. มีการจ่ายค่าตอบแทนอย่างน้อย 2 อย่าง คือ ค่าแรกเข้าในการใช้เครื่องหมายการค้า (Franchise Fee) และค่าตอบแทนผลดำเนินการ (Royalty Fee)

แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย

ศัพท์แฟรนไชส์ที่ควรรู้
ในแวดวงธุรกิจแฟรนไชส์นั้น มีศัพท์เฉพาะมากมายที่ใช้เรียกกันในวงการ ฉะนั้นเพื่อให้เป็นที่เข้าใจตรงกัน จึงควรเรียนรู้ความหมายของคำศัพท์เหล่านี้เป็นพื้นฐานเสียก่อน

  • แฟรนไชส์ (Franchise) หมายถึง ระบบธุรกิจที่มีเอกลักษณ์เดียวกัน มีกลยุทธ์ในการบริหารจัดการภายใต้กฎกติกาเดียวกัน โดยเจ้าของสิทธิ์ (Franchisor) จะต้องเป็นผู้ถ่ายทอดวิทยาการความรู้ในการทำธุรกิจของตนให้แก่ผู้รับสิทธิ์ (Franchisee) อย่างใกล้ชิด ส่วนผู้รับสิทธิ์จะต้องดำเนินธุรกิจตามรูปแบบและระบบธุรกิจของเจ้าของสิทธิ์ และต้องจ่ายค่าธรรมเนียมในการใช้ชื่อการค้าและค่าตอบแทนให้แก่เจ้าของสิทธิ์
  • แฟรนไชซอร์ (Franchisor) หมายถึง เจ้าของสิทธิ์ หรือผู้ขายแฟรนไชส์ ซึ่งเป็นผู้ที่คิดค้นวิธีการทำธุรกิจจนมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ และเป็นผู้ขายสิทธิ์การดำเนินกิจการ ขายชื่อการค้าของตัวเอง รวมถึงขายระบบการจัดการธุรกิจทั้งหมดให้แก่ผู้รับสิทธิ์
  • แฟรนไชซี่ (Franchisee) หมายถึง ผู้รับสิทธิ์ในการดำเนินธุรกิจตามระบบที่เจ้าของสิทธิ์ได้จัดเตรียมไว้ รวมทั้งได้ใช้ชื่อทางการค้า เครื่องหมายการค้าเดียวกัน โดยต้องจ่ายค่าตอบแทนในการใช้สิทธิ์นั้น รวมทั้งจ่ายค่าตอบแทนตามผลประกอบการด้วย พูดง่ายๆ ก็คือเป็นผู้ซื้อแฟรนไชส์นั่นเอง
  • แฟรนไชส์ฟี (Franchise Fee) หมายถึง ค่าตอบแทนซึ่งเป็นจำนวนเงินที่แน่นอนตายตัว โดยจะจ่ายก่อนเริ่มดำเนินงาน หรือเรียกว่า ค่าธรรมเนียมแรกเข้า ซึ่งถือเป็นการจ่ายค่าสิทธิ์ต่างๆ ให้แก่บริษัทแม่
  • รอยัลตี้ฟี (Royalty Fee) เป็นค่าตอบแทนที่ต้องจ่ายอย่างต่อเนื่องตามสัดส่วนของผลการดำเนินงาน อาจจะเรียกเก็บเป็นเปอร์เซ็นต์ ต่อเดือนหรือต่อปีจากยอดขาย หรืออาจจะเก็บจากยอดสั่งซื้อสินค้า
  • Advertising Fee หมายถึง ค่าตอบแทนที่ต้องจ่ายอย่างต่อเนื่องตามสัดส่วนของการดำเนินงาน เพื่อนำไปใช้ในการโฆษณา ในส่วนนี้แฟรนไชซอร์อาจจะเรียกเก็บหรือไม่เก็บก็ได้ ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขตามที่ตกลงกัน
  • Franchise package Fee หมายถึง ค่าตอบแทนในระบบหรือเทคนิคต่างๆ (เป็นศัพท์ที่ใช้เรียกรวมๆ ถ้าพูดเมื่อไรก็ให้เข้าใจว่าหมายถึงค่าธรรมเนียมอื่นๆ เช่น ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ค่าอบรม ฯลฯ รวมเบ็ดเสร็จอยู่ในคำคำเดียว)
  • Sub-Franchise/Individual Franchise หมายถึง ผู้รับสิทธิ์รายย่อยแบบตัวต่อตัว จากผู้ที่ได้รับสิทธิ์หรือผู้ที่เป็นเจ้าของสิทธิ์ ซึ่งอาจจะได้รับสิทธิ์ในการเปิดกิจการ ทั้งแบบ Single unit Franchise หมายถึง สิทธิ์ในการดำเนินธุรกิจได้เพียง 1 แห่ง และ Multi unit Franchise หมายถึง สิทธิ์ในการดำเนินธุรกิจได้หลายแห่ง แต่ทั้งนี้ผู้รับสิทธิ์ในการดำเนินกิจการทั้ง 2 กรณี ไม่มีสิทธิ์ที่จะขายแฟรนไชส์ต่อให้ผู้อื่นไปเปิดร้านได้อีก นอกจากเปิดเองเท่านั้น
  • Sub-Area License/Development Franchise หมายถึง สิทธิ์แฟรนไชส์ในการพัฒนาอาณาเขต แฟรนไชเซอร์จะให้สิทธิในการขยายกิจการแก่แฟรนไชซี่ภายในอาณาเขตและระยะเวลาที่กำหนด โดยจะไม่มีใครได้รับสิทธิ์จากบริษัทแม่ให้ไปเปิดกิจการทับกันในอาณาเขตเดียวกันนี้อีกได้ ซึ่งรูปแบบนี้แตกต่างจาก Multi Unit Franchise คือ Sub-Area License สามารถที่จะขายซับแฟรนไชส์ต่อได้ เพื่อให้การขยายสาขาเป็นไปตามเป้าที่ตกลงกันไว้กับบริษัทแม่
  • Master Franchise หมายถึง ผู้ที่ได้รับสิทธิ์จากบริษัทแม่ให้ดำเนินธุรกิจเป็นรายแรกในประเทศ และมักจะเป็นรายใหญ่ที่จะต้องทำการขยายสาขาออกไปให้ทั่วประเทศ โดยผู้ที่เป็นมาสเตอร์แฟรนไชส์นี้จะได้รับการถ่ายทอดความรู้ในเรื่องการบริหารในระดับสูงขึ้น
  • Offering Circular หมายถึง หนังสือที่ผู้ขายแฟรนไชส์ต้องจัดทำขึ้นตามกฎหมายของสหรัฐฯ ที่บังคับให้ผู้ขายแฟรนไชส์จะต้องจัดทำรายละเอียดของแฟรนไชส์อย่างเปิดเผย เพื่อเสนอให้แก่ผู้ที่จะซื้อในการตัดสินใจก่อนซื้อแฟรนไชส์ โดยหนังสือนี้จะมีหัวข้อสำคัญๆ เช่น ประวัติผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ค่าธรรมเนียม จำนวนร้านสาขาแฟรนไชส์ รวมถึงจำนวนร้านที่ปิด และคดีฟ้องร้องที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ

เรียบเรียงบทความ
"แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร"
โดยกองบรรณาธิการ
www.YesSpaThailand.com

.........................................................................................................
โฆษณา-ลิงก์ผู้สนับสนุน

.........................................................................................................

แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทยแฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย

แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์ที่ควรรู้และระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย

 

                     




บทความ-ความรู้พื้นฐานของธุรกิจแฟรนไชส์ <ดูทั้งหมด>

ข้อดี ข้อเสีย ของระบบธุรกิจแฟรนไชส์ คิดก่อนลงทุน? article
แฟรนไชส์เสริมความงาม สปา สุขภาพ ธุรกิจน่าลงทุน article
ปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchise) article
มุมมองการตลาดของธุรกิจแฟรนไชส์ในปัจจุบัน article
วิธีการเลือกแฟรนไชส์ (Franchise) article
เกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพแฟรนไชส์ (Franchise) แห่งชาติ article
วิธีการสร้างและบริหารธุรกิจแฟรนไชส์ ให้ประสบความสำเร็จ 1 article
วิธีสร้าง-บริหารระบบแฟรนไชส์ให้ประสบความสำเร็จ2 article
ใครคือนักลงทุน.. แฟรนไชส์ (Franchise)! article
ระบบธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchise) ไม่ใช่สูตรแห่งความสำเร็จ? article
วิธีการเขียนสัญญาแฟรนไชส์ (Franchise) ทำอย่างไร? article
กลยุทธ์การเลือกซื้อธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchise) article
คุณควรมีหุ้นส่วนทางธุรกิจหรือไม่? article
แฟรนไชส์ (Franchise) ธุรกิจสำเร็จรูปหรือสูตรสำเร็จ? article
คุณสมบัติของธุรกิจที่จะพัฒนาเป็นธุรกิจแฟรนไชส์ article



Copyright © www.YesSpaThailand.com 2010 All Rights Reserved.

พื้นที่โฆษณา -ลิงก์ผู้สนับสนุน (Advertisement)

มูลนิธิส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชน